ไทยแลนด์
Friday 19th of April 2024
0
نفر 0

อัลกุรอานเป็นความมหัศจรรย์ในสามลักษณะ : ก.คำ, ข. เนื้อหา, ค.ผู้นำอัลกุรอานมาเผยแผ่ และทั้งสามลักษณะบ่งบอกว่าอัลกุรอานมาจากพระเจ้าได้เพียงมากน้อยเพียงใด ?

อัลกุรอานเป็นความมหัศจรรย์ในสามลักษณะ : ก.คำ, ข. เนื้อหา, ค.ผู้นำอัลกุรอานมาเผยแผ่ และทั้งสามลักษณะบ่งบอกว่าอัลกุรอานมาจากพระเจ้าได้เพียงมากน้อยเพียงใด ?
อัลกุรอานเป็นความมหัศจรรย์ในสามลักษณะ : ก.คำ, ข. เนื้อหา, ค.ผู้นำอัลกุรอานมาเผยแผ่ และทั้งสามลักษณะบ่งบอกว่าอัลกุรอานมาจากพระเจ้าได้เพียงมากน้อยเพียงใด ?
คำตอบโดยสังเขป
คำถามนี้ไม่มีคำตอบแบบสั้น โปรดเลือกปุ่มคำตอบที่สมบูรณ์
คำตอบเชิงรายละเอียด

โดยทั่วไปความมหัศจรรย์บางประการแสดงให้เห็นว่าอัลกุรอาน ไม่ว่าจะเป็นในช่วงนั้นหรือในช่วงเวลาเวลาใดๆ ก็ตาม ไม่สามารถมาจากผู้ที่ไม่ใช่อัลลอฮฺได้, ดังเช่นความมหัศจรรย์ด้านวาทศาสตร์ของอัลกุรอาน ไม่ได้จำกัดอยู่เวลาใดเวลาหนึ่ง หรือสถานที่ใดเป็นพิเศษเท่านั้น และวิธีการสาธยายเช่นนี้ก็ไม่ผู้ใดสามารถกระทำได้ไม่ว่าจะเป็นในเวลานั้นหรือในอนาคต ก็ตาม แต่บางครั้งความมหัศจรรย์ของอัลกุรอานก็บ่งบอกเฉพาะเวลาเท่านั้น ซึ่งเป็นการบ่งบอกให้เห็นว่าอัลกุรอัลกุรอานไม่สามารถจากผู้อื่นที่เหนือจากพระเจ้าได้ เช่น ในลักษณะที่สองจากความมหัศจรรย์ด้านเนื้อหาของอัลกุ รอาน (ในกรณีทีสมมุติว่า ณ ปัจจุบันความรู้และวิชาการของอัล-กุรอานยังมิด้ถูกรู้จัก แต่อยู่ในมือของมนุษย์) อีกด้านหนึ่งความมหัศจรรย์บางอย่างเหล่านี้ พิจารณาที่ความพิเศษของผู้นำเอาอัล-กุรอานมาสอน หมายความว่าทั้งเวลาในอดีตที่ผ่านมาหรือในอนาคต จะไม่มีบทเรียนใดที่ถูกนำสั่งสอนเยี่ยงคัมภีร์กุรอ่านอีกต่อไป ขณะที่ความมหัศจรรย์ในส่วนที่เหลือ ได้ถูกแนะนำว่าเป็นความมหัศจรรย์แห่งประวัติศาสตร์ สำหรับทุกโลกทุกสถานที่และทุกเวลา เป็นไปในลักษณะที่ว่าจะไม่มีมนุษย์คนใดบนโลกนี้ มีความสามารถนำมาได้เช่นนั้นอีก

 

ตอนนี้สิ่งที่ต้องพิจารณาต่อไปคือ ความมหัศจรรย์ในแต่ละส่วนนั้น สามารถพิสูจน์การเป็นวะฮฺยูของกุรอานได้มากน้อยเพียงใด

 

ความมหัศจรรย์ด้านผู้นำอัลกุรอานมาเผยแผ่ สามารถพิสูจน์ได้เฉพาะว่า อัลกุรอานนั้นถูกประทานลงมาจากพระเจ้าเท่านั้น แต่ไม่ได้พิสูจน์ว่าคำพูดของอัลกุรอาน ก็มาจากอัลลอฮฺ ด้วยเช่นกัน[1]

 

ขณะที่กล่าวว่าท่านนบี (ซ็อล ฯ) ไม่สามารถเลือกคำพูดเหล่านี้ได้ หรือบางคำพูดที่กล่าวว่า ทั้งคำพูดและรูปประโยคนั้นเป็นของพระเจ้า ซึ่งจะกล่าวในโอกาสต่อไปว่า คำพูดเหล่านี้ล้วนย้อนกลับไปสู่เรื่อง วาทศาสตร์ทั้งสิ้นอันถือว่าวาทศาสตร์นั้นเป็นหนึ่งในความมหัศจรรย์ของอัลกุรอาน ซึ่งไม่ถือว่าเป็นความมหัศจรรย์สำหรับผู้ที่นำเอาอัลกุรอานมา เว้นเสียแต่ว่าจะการกล่าวอ้างว่า ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าวาทศาสตร์เหล่านี้ไม่ได้มาจากผู้อื่นที่นอกเหนือจากพระเจ้า แต่อย่างน้อยที่สุดสำหรับท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) ไร้ความสามารถในการกระทำสิ่งเหล่านี้ ด้วยสมมุติฐานเหล่านี้ สามารถสรุปได้ว่าทั้งคำและลีที่ผสมเป็นกุรอานนั้น ล้วนมาจากรพเจ้าทั้งสิ้น

 

ความมหัศจรรย์ของอัลกุรอาน ทั้งสี่ประการที่กล่าวมา เป็นความมหัศจรรย์ด้านเนื้อหาซึ่งเพียงแค่พิสูจน์ให้เห็นว่าอัลกุรอานนั้น ถูกประทานมาจากพระเจ้าแน่นอน

 

แต่ในส่วนของความมหัศจรรย์ด้านวาจาของอาน –ความมหัศจรรย์ด้านวาทศาสตร์และตัวเลข- พิสูจน์ให้เห็นว่าคำและวลีของอัลกุรอานเมื่อรวมกันเป็นอัลกุรอานก็มาจากพระเจ้าเช่นกัน[2] เช่นเดียวกันการที่กล่าวว่าอัลกุรอานมาจากพระเจ้านั้น ก็เนื่องจากความสัมพันธ์กันของโองการต่างๆ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วเท่ากับเป็นการสร้างบริบทให้เกิดขึ้นเท่านั้น นอกจากนี้ แล้ว ยังจะมีวิธีการพิสูจน์ได้อย่างไรว่า การรวมตัวของโองการต่างเข้าด้วยกัน (แม้ว่าบริบทอาจไม่สอดคล้องกัน) ตลอดจนการค้นพบบท (ซูเราะฮฺ) ต่างๆ การรวบรวมบทต่างๆ,และการค้นพบอัลกุรอาน ซึ่งอยู่ในมือของเราขณะนี้ทั้งหมดจะมาจากพระเจ้าจะเป็นไปได้อย่างไร

 

คำตอบสำหรับคำถามลักษณะนี้ โดยปกติจะตอบในหมวดหมู่วิพากษ์เรื่อง ประวัติอัลกุรอาน[3] นักปราชญ์ฝ่ายอะฮฺลิซซุนนะฮฺบางท่าน และนักบูรพาคดีส่วนใหญ่ ต่างตกอยู่ในวังวนของประเด็นนี้ กล่าวคือ พวกเขามีความเชื่อมั่นว่า การรวบรวมโองการต่างๆ การเกิดของซูเราะฮ์อัลกุรอาน การรวบรวมซูเราะฮฺต่างๆ และการรวบรวมอัลกุรอานนั้น เกิดขึ้นภายหลังจากอนิจกรรมของท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อล ฯ) [4]

 

แหล่งอ้างอิงเพื่อศึกษาเพิ่มเติม :

 

Hadavi เตหะราน Mehdi  มะบานีกะลามี อิจญ์ติฮาด

 



[1]  บางคนกล่าวเช่นนี้เหมือนกันว่า ถ้าหากกุรอานมาจากพระเจ้า ส่วนคำนั้นมาจากนบี (ซ็อล ฯ) ขณะที่นักปราชญ์ฝ่ายอิสลามจากอดีตจวบจนถึงปัจจุบันต่างมีความเชื่อว่า ความแตกต่างระหว่างฮะดีซกุดซีย์กับอัล-กุรอานก็คือประเด็นดังกล่าวนี้เอง กล่าวคือฮะดีซกุดซีย์ เนื้อหานั้นมาจากพระเจ้าส่วนคำมาจากนบี ขณะอัลกุรอานนั้นแม้แต่คำก็มาจากพระเจ้า

[2]  บางครั้งการเน้นย้ำของบรรดานักปราชญ์จากอดีตจนถึงปัจจุบันเกี่ยวกับเรื่อง ความมหัศจรรย์ด้านวาทศาสตร์ของอัลกุรอานก็คือประเด็นนี้เอง

[3] หนังสือตัวอย่างเช่นดู : Abu Abdullah Zanjani ประวัติอัลกุรอาน; Mahmoud Ramyar ประวัติอัลกุรอาน Seyed Mohammad Baqer วิจัยประวัติของอัลกุรอาน Seyed Mohammad Reza Jalali Na'ini ประวัติการรวบรวมอัลกุรอาน

[4] ดัชนี R. : อานทั้งหมด

0
0% (نفر 0)
 
نظر شما در مورد این مطلب ؟
 
امتیاز شما به این مطلب ؟
اشتراک گذاری در شبکه های اجتماعی:

latest article

ปรัชญาของวันอีดฟิตร์
...
...
ตัฟซีร ซูเราะฮ์อัลอิคลาศ ตอนที่ ...
การผ่าดวงจันทร์ (ชักกุ้ลกอมัร) ...
บันทึกประวัติ “ปาเลสไตน์” ...
...
ดุอากุเมล คำอ่านพร้อมความหมาย
อัลกุรอาน โองการสุดท้ายคืออะไร ...
ความอธรรมในอัลกุรอาน

 
user comment